alfa-seo.ru

บ แดน ไทย

Amd กับ Nvidia

หลังจากที่ AMD เปิดตัวเทคโนโลยี FidelityFX Super Resolution ออกมาสู้กับ NVIDIA DLSS 2. 0 หลายคนคงอยากรู้แล้วใช่ไหมว่า ประสิทธิภาพและความสวยงามที่ได้มันมีความแตกต่างกันหรือไม่ วันนี้ผมมีข้อมูลจาก Videocardz มาฝากครับ ความแตกต่างของ 2 เทคโนโลยีนี้ผมขอไม่ลงลึกละกัน แต่จะอธิบายแบบนี้ AMD FSR และ NVIDIA DLSS 2. 0 เป็นฟีเจอร์ที่ช่วยในการอัปสเกลภาพที่ความละเอียดสูงขึ้นได้ โดยสูญเสีย FPS น้อยที่สุด สมมุติว่าถ้าเราอัปจาก Full HD เป็น 4K ปกติ FPS จะร่วงลงไปเยอะมาก แต่เทคโนโลยี 2 อย่างนี้ จะช่วยให้ FPS ไม่ตกลงมาก ในขณะที่ได้สเกลภาพตามต้องการ แต่แตกต่างกันตรงที่ AMD FSR จะใช้ Lanczos resampling ในการจัดการภาพ ในขณะที่ NVIDIA DLSS 2. 0 จะมีการสอนให้ AI เรียนรู้การเติมพิกเซลลงในภาพ โดยใช้แกนประมวลผล Tensor Core ที่อยู่ในการ์ดจอ RTX Series ดังนั้น AMD FSR จึงใช้ได้ทั้งค่าย AMD และ NVIDIA ในขณะที่ DLSS 2. 0 จะใช้ได้แต่การ์ดจอจาก NVIDIA เท่านั้น เกมแรกที่ใช้ทดสอบนั้น จะเป็นเกม Necromunda Hired Gun ความละเอียด 4K ผลปรากฏว่าภาพของ FSR Ultra Quality นั้นจะได้เปรียบในแง่ของ FPS ที่ได้และคุณภาพของภาพในเกมขณะที่มีการเคลื่อนไหว เมื่อเทียบกับ DLSS 2.

  1. Forceware
  2. Graphics card

Forceware

9 ต่างจากการ Sli ของการ์ดเขียวที่ 1+1=1. 4 (โดยประมาณ) ปล. แต่ถ้าเป็นการ์ดรุ่นแรงปัญหาต่างๆก็แทบจะไม่มี เพราะสเปคมันแรงเหลือๆ โดนอะไรฉุดนิดถ่วงหน่อยก็แทบไม่มีผลอะไร มันจึงขึ้นอยู่ที่ค่ายเกมแล้วล่ะว่าทำออกมารองรับเทคโนโลยีการ์ดค่ายไหนมากกว่ากัน อย่าง BF4 นี่ไม่ต้องถาม เห็นๆกันอยู่ว่าทำออกมาขายการ์ดจอซีรีย์ R ของ AMD

มันเป็นสิ่งที่น่ายกย่องสำหรับ AMD ซึ่งเป็น บริษัท ที่เล็กกว่า Intel และ NVIDIA มากและมันก็ทำให้สิ่งต่าง ๆ ยากสำหรับพวกเขาทั้งสองในเกือบทุกตลาด แต่ถ้าเราวิเคราะห์สถานการณ์ก็มีโฮสต์ของความทุกข์ยากที่ Lisa Su ต้องแก้ไขเพื่อรักษาระดับ คู่แข่งทั้งสองของคุณจะไปกับทุกสิ่งในปี 2020 และ 2021 เป็นไปได้ไหมที่จะแข่งขันกับทรัพยากรน้อยลงเมื่อพวกเขาคิดว่าคุณเป็นภัยคุกคาม?

Graphics card

การ์ดจอแยก: เป็นการ์ดจอที่อยู่ในคอมพิวเตอร์ระดับกลางถึงระดับสูงครับ ซึ่งการ์ดจอแยกนั้นยังแบ่งออกได้อีกเป็น 3 ระดับ คือ ระดับพื้นฐาน ระดับกลาง และระดับสูงอีกด้วย ซึ่งแต่ละระดับก็จะมีประสิทธิภาพที่แตกต่างกันออกไปด้วย 2. 1 การ์ดจอแยกระดับพื้นฐาน: เหมาะแก่นักเรียนนักศึกษาทั่วไป ที่ใช้ในการทำงานเล็กๆน้อยๆ ดูหนัง ฟังเพลง เล่น internet เล่น facebook และเล่นเกมส์ที่ไม่ได้เป็นเกมส์ที่มีกราฟิกอลังการหรูหรา ได้แก่ nVidia GeForce 820M, AMD Radeon HD 8210 เป็นต้น 2. 2 การ์ดจอแยกระดับกลาง: เหมาะแก่ผู้ใช้งานที่ที่ใช้งานโปรแกรมที่ต้องการประสิทธิภาพของการ์ดจอที่เพิ่มมากขึ้น เช่นใช้การเล่นเกมส์กราฟิกระดับกลางๆ หรือใช้งานโปรแกรมกราฟิกระดับกลางๆ เช่น Adobe Photo Shop เป็นต้น ได้แก่ AMD Radeon HD 8750M, nVidia GeForce 840M เป็นต้น 2.

การ์ดจอสำหรับการทำงาน จุดเด่น: เหมาะแก่การ Render ภาพกราฟิก เหมาะแก่การประมวลผล, ราคาแพงกว่าการ์ดจอสำหรับเล่นเกมส์ หลายคนถามว่าถ้าเอาไปเล่นเกมส์ได้ไหม? ก็ขอตอบว่าได้ แต่ก็จะไม่ได้ประสิทธิภาพเท่ากับการ์ดจอสำหรับเล่นเกมส์ครับ (มันเป็นประเภทไหนก็ควรใช้งานประเภทนั้นดีกว่านะครับ) ค่ายเขียว (Nvidia) จะเป็นซีรีห์ Nvidia Quadro ค่ายแดง (AMD) จะเป็นซีรีห์ AMD Firepro 2. การ์ดจอสำหรับการเล่นเกมส์ จุดเด่น: เหมาะแก่การแสดงผลที่ค่า frame per second (FPS) สูงๆ นอกจากนั้นยังเน้นในเรื่องของ Resolotion ที่มีความละเอียดที่สูงของภาพขึ้นไปด้วย (เหมาะแก่การแสดงผล), กินไฟเยอะกว่าการ์ดจอทำงาน ค่ายเขียว(Nvidia) จะเป็นซีรีห์ Nvidia Geforce ค่ายแดง (AMD) จะเป็นซีรีห์ AMD Radeon การ์ดจอออนบอร์ด กับ การ์ดจอแยก คืออะไร? นอกจากนี้แล้วเพื่อนๆหลายคนก็ยังต้องงงอกับคำว่า "การ์ดจอแยก และ การ์ดจอแบบออนบอร์ด" อีกว่ามันคืออะไรหว่า? ไหนๆก็ไหนๆละผมก็จะมาอธิบายให้ฟังกันครับว่าแต่ละประเภทมันคืออะไร อันไหนมันดีกว่ากัน 1. การ์จอแบบ ออนบอร์ด: การด์จอประเภทนี้จะเป็นการ์ดจอที่ใช้ในคอมพิวเตอร์รุ่นราคาปรหยัด ซึ่งความสามารถนั้นก็ไม่ได้โดเด่นหวือหวา เรียกว่าพอไปวัดไปวาได้ ไว้ใช้สำหรับดูหนัง ฟังเพลง และการใช้งานทั่วไป หากนำไปเล่นเกมส์ 3 มิติ กราฟิกสวยๆ คุณอาจจะพบกับอาการกระตุกได้ครับ หุหุ (ก็ตามที่บอกเบื้องต้นครับ คุณภาพแปรผันตามราคา) 2.

  1. Amd กับ nvidia processor
  2. Amd กับ nvidia ti
  3. รีวิว ซื้อพื้นที่ Google Drive หรือ Google One เพิ่มใน Gmail - Zenkoy
Friday, 7 October 2022

alfa-seo.ru, 2024